top
 
 
       
งานประกันคุณภาพ  
ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ  
 
ประวัติความเป็นมา  
 
 
 
คณะกรรมการบริหาร  
บุคลากรประจำสำนักงาน  
 
รายงานประเมินตนเองปี 2554  
 
รายงานประเมินตนเองปี 2555  
 
รายงานประเมินตนเองปี 2556  
 
CHE QA Online 2555  
 
CHE QA Online 2556  
 
การจัดการความรู้ ปี 2555  
 
การจัดการความรู้ ปี 2556  
 
เว็บไซต์สำนักศิลปะและวัฒนธรรม  
       

 

 

 

 

 

 



งานประกันการศึกษาสำนักศิลปะและวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมปีการศึกษา

ประจำปี 2555

 

องค์ประกอบที่6การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม


ตัวบ่งชี้ที่ 6.1ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม (สกอ.6.1)

ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้นางวิลาวัลย์  วัชระเกียรติศักดิ์

โทรศัพท์ :089 - 7227734

ผู้จัดเก็บข้อมูล :
1. นายชุตินันท์  ทองคำ
2. นางสาวสมฤทัย  ปิยะรัตน์
3. นายสุรชัย  เดชชัยพิทักษ์

โทรศัพท์ :
1. 083 – 129 9983
2. 088 – 356 78866
3. 086 – 725 9414

เกณฑ์การประเมิน


คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ
1 ข้อ

มีการดำเนินการ
2 ข้อ

มีการดำเนินการ     3ข้อ

มีการดำเนินการ
4ข้อ

มีการดำเนินการ5 หรือ 6ข้อ

ผลการประเมินตนเอง


เป้าหมายการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงาน

คะแนนการประเมิน

ผลการประเมินตนเองเทียบกับ     ค่าเป้าหมาย

6 ข้อ

6 ข้อ

5คะแนน

บรรลุ


รายละเอียดผลการดำเนินงาน

ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงาน

หลักฐาน

ข้อ

1

มีระบบกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

สำนักฯ มีระบบและและกลไกการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด ดังนี้
ระบบการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

  1. สำนักฯ มีการกำหนดนโยบายด้านการทำนุบำรุงศิลปะและ

วัฒนธรรม (สวธ. 6.1-1)
2. สำนักฯ มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการประจำปี  ที่มีเนื้อหาด้านการนำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม(สวธ. 6.1-2) (สวธ. 6.1-3)
      กลไกในการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
1. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อขับเคลื่อนงานการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยและคณะวิชาต่างๆ(สวธ. 6.1-4)
2. มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อการจัดกิจกรรม/โครงการ มีการกำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรม/โครงการ มีการกำหนดตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย เพื่อวัดความสำเร็จของกิจกรรม/โครงการและแผน(สวธ. 6.1-5)
3.มีการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติราชการประจำปีต่อคณะกรรมการประจำสำนัก(สวธ. 6.1-6)

 

 


สวธ. 6.1-1
สวธ. 6.1-2
สวธ. 6.1-3
สวธ. 6.1-4
สวธ. 6.1-5

สวธ. 6.1-6

 

 

 


นโยบายด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
แผนยุทธศาสตร์ปี 2552 – 2556
แผนปฏิบัติการประจำปี 2555
คำสั่งคณะกรรมการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
แผนปฏิบัติการงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2556 (อนุมัติครั้งที่ 1 และ 2)
รายงานการปฏิบัติการตามแผนประจำปี 2555  รอบ 6 เดือน และ 12 เดือน

2

มีการบูรณาการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมนักศึกษา

       สำนักฯ มีการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา ดังนี้
ด้านการเรียนการสอน
1. โปรแกรมวิชานาฏศิลป์ กำหนดให้นักศึกษาใช้ห้องสมุดของสำนักฯ เป็นแหล่งค้นคว้าในรายวิชาวิจัยทางด้านนาฏศิลป์(สวธ. 6.1-7)
2. มีการจัดตั้งหอประวัติเมืองนครราชสีมา ซึ่งนักศึกษาโปรแกรมวิชาทัศนศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ได้ใช้เป็นสถานที่ฝึกปฏิบัติด้านจิตรกรรมไทย และประวัติศาสตร์ และวิชาเอกปฐมวัย คณะครุศาสตร์ ได้นำนักเรียนมาทัศนศึกษาเพื่อเพิ่มเติมความรู้ด้านประวัติศาสตร์ของจังหวัดนครราชสีมา(สวธ. 6.1-8)
ด้านกิจกรรมนักศึกษา
1. กิจกรรมตักบาตรวันพุธ ในทุกวันพุธตลอดปีการศึกษาโดยมีโปรแกรมวิชาต่างๆ ส่งเสริมให้นักศึกษามาร่วมตักบาตรเพื่อพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตตามลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์(สวธ. 6.1-9)
2. โครงการ เวียนเทียน เนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา (สวธ. 6.1-10)

 

 

สวธ. 6.1-7

สวธ. 6.1-8

 

 

สวธ. 6.1-9

สวธ. 6.1-10

 

 

 

มคอ.3วิชาวิจัยด้านนาฏศิลป์

บันทึกข้อความขอเข้าชม/วิทยากร

 

 

รายงานผลการดำเนินงานโครงการตักบาตรวันพุธ ประจำปีการศึกษา 2555
สรุปผลการดำเนินงานโครงการ เนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา

3

 มีการเผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชน

สำนักฯ มีการเผยแพร่กิจกรรมและการบริการด้านงานศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชนดังนี้
1. มีแหล่งเผยแพร่และบริการข้อมูลด้านวัฒนธรรม ได้แก่                 หอประวัติเมืองนครราชสีมา ห้องประวัติสถาบัน ห้องพิพิธภัณฑ์เพลงโคราช ห้องเอกสารวัฒนธรรม(สวธ. 6.1-11)
2. มีการจัดทำจดหมายข่าวศิลปวัฒนธรรม เผยแพร่ข่าวสารการดำเนินงานทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่นักศึกษา คณาจารย์ บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สวธ. 6.1-12)
3. มีการบริการจัดแสดงนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นบ้าน และดนตรีพื้นบ้าน (โปงลาง) (สวธ. 6.1-13)
4. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์โครงการของสำนักโดยวิธีต่างๆ เช่น สื่อบุคคล หนังสือราชการ บันทึกข้อความ เสียงตามสายของทางมหาวิทยาลัย SMS ของมหาวิทยาลัย และการโทรศัพท์ถึงบุคคลโดยตรง(สวธ. 6.1-14)

  5. มีการบริการข้อมูลวิชาการทางด้านวัฒนธรรมแก่สื่อมวลชน                     โดยวิธีการต่างๆ รวมถึงการให้สัมภาษณ์ทางวิทยุโทรทัศน์(สวธ. 6.1-15,สวธ. 6.1-16)
6. มีการเผยแพร่ข่าวสาร และข้อมูลความรู้ผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ต อาทิ www.koratculture.com , FaceBook.com , Gotoknow.com th.Wikipedia.com และฐานข้อมูลหน่วยงานเครือข่ายทางวัฒนธรรม(สวธ. 6.1-17)
7. จัดทำหนังสือ “เพลงโคราช เล่ม 2” ต่อเนื่องจากเล่ม 1 ในปีที่ผ่าน เพื่อใช้เผยแพร่ภูมิปัญญาทางภาษาของชาวโคราช เพลงโคราชปัจจุบันและอนาคต และจัดทำทำเนียบหมอเพลงจากอดีต-ปัจจุบัน(สวธ. 6.1-18,สวธ. 6.1-19)
8. นิทรรศการ “สำเนียงเสียงถิ่น ดินแดนท้าวสุรนารี : เพลงโคราช” เนื่องในเทศกาลพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ครั้งที่ 3 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(สวธ. 6.1-20)
9.นิทรรศการ “พระบารมีปกเกล้า ชาวราชภัฏนครราชสีมา” เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ณ ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 กรุงเทพฯ(สวธ. 6.1-20)
10. นิทรรศการเผยแพร่ข้อมูลความรู้ แหล่งโบราณคดีบ้านโนนวัด ตำบลพลสงคราม อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา เนื่องในงานฉลองวันแห่งชัยชนะของท้าวสุรนารี(สวธ. 6.1-20)

 

สวธ. 6.1-11

 

สวธ. 6.1-12

 

สวธ. 6.1-13

สวธ. 6.1-14

 

สวธ. 6.1-15
สวธ. 6.1-16

สวธ. 6.1-17

 

สวธ. 6.1-18
สวธ. 6.1-19

 

สวธ. 6.1-20

 

 

เอกสารภาพถ่ายอาคารหอประวัติเมืองนครราชสีมา

 

จดหมายข่าวสำนักศิลปะและวัฒนธรรม

 

เอกสารขอใช้บริการ-บันทึกข้อความ และการขอบริการการแสดง
บันทึกขอเข้าชม และสมุดเยี่ยมอาคารหอประวัติเมืองนครราชสีมา

 



ภาพสื่อประชาสัมพันธ์โครงการต่างๆ
ภาพการบริการข้อมูลแก่สื่อมวลชน

ภาพการให้ข้อมูลผ่านระบบอินเทอร์เน็ต

 

หนังสือเพลงโคราช เล่ม 2
บันทึกนำส่งหนังสือเพลงโคราช แก่หน่วยงานต่างๆ

 

แฟ้มภาพการดำเนินงานการจัดนิทรรศการต่างๆ

4

มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

      สำนักฯ ได้มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ดังนี้
ด้านการเรียนการสอน
ผู้สอนรายวิชาวิจัยทางด้านนาฏศิลป์ มีการประเมินผลความสำเร็จ โดยเกณฑ์การประเมินผลงานนักศึกษาไว้ที่รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) (สวธ. 6.1-21)และได้ประเมินผลการเรียนการสอนไว้ในแบบรายงานผลการดำเนินการสอนของรายวิชา (มคอ.5) (สวธ. 6.1-22)
ด้านกิจกรรมนักศึกษา
1. มีการประเมินผลการดำเนินงานโครงการต่างๆ (สวธ. 6.1-23)
2. มีการประเมินผลโครงการตักบาตรวันพุธ ในเชิงคุณภาพ “คุณได้อะไรจากการใส่บาตร” (สวธ. 6.1-24)

 

 

สวธ. 6.1-21


สวธ. 6.1-22

สวธ. 6.1-23

สวธ. 6.1-24

 

 

รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3)


รายงานผลการดำเนินงาน (มคอ.5)

สรุปการประเมินความพึงพอใจผลโครงการต่างๆ ของสำนัก


สรุปการประเมินโครงการตักบาตรวันพุธ “คุณได้อะไรจากใส่บาตร”

5

มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา

     สำนักฯ ได้มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
ด้านการเรียนการสอน
สำนักฯ ได้ปรับปรุงการให้บริการ ตามที่ผู้สอนรายวิชาวิจัยทางด้านนาฏศิลป์ได้ระบุตัวชี้วัดการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการกับการเรียนการสอน (สวธ. 6.1-25)
ด้านกิจกรรมนักศึกษา
สำนักฯ ได้มีการจัดประชุมเพื่อนำผลการดำเนินงานโครงการในปีที่ผ่านมา เพื่อวางแผน/ปรับปรุงในการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไป(สวธ. 6.1-26)

 

สวธ. 6.1-25

 

สวธ. 6.1-26

 

รายงานการประชุม วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2555
(การดำเนินการปรับปรุงการให้บริการ-ค้นคว้าเอกสาร)

สวธ. 6.1-30 รายงานการประชุม วันที่วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2555 (การปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ)

6

มีการกำหนดหรือสร้างมาตรฐานคุณภาพด้านศิลปะและวัฒนธรรมและมีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ

สำนักฯ มีการกำหนดและสร้างมาตรฐานคุณภาพด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมกันของ สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอยุธยา กับสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เพื่อเสนอแนวทางในการจัดกิจกรรมมาตรฐานทางศิลปะและวัฒนธรรม (สวธ. 6.1-27)

สวธ. 6.1-27

 

บันทึกข้อตกลงความร่วมมือการสร้างมาตรฐานคุณภาพด้านศิลปะและวัฒนธรรม ระหว่าง สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอยุธยา กับสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

 

รายละเอียดผลการดำเนินงาน

จุดแข็ง

  1. สำนักฯ มีนโนบายด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมที่ชัดเจนและ
  2. สามารถปฏิบัติได้มีการบูรณาการด้านศิลปะและวัฒนธรรมกับภารกิจอื่น
  3. มีการส่งเสริมงานด้านศิลปะและวัฒนธรรม เช่น การจัดทำฐานข้อมูลศิลปะและวัฒนธรรม
  4. มีการจัดตั้งงบประมาณและใช้งบประมาณเพื่อดำเนินการด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างมีประสิทธิภาพมีการจัดสถานที่เพื่อการเผยแพร่และบริการด้านศิลปวัฒนธรรม เช่น อาคารหอวัฒนธรรมเนื่องจากมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและหลากหลายรูปแบบมีบุคลากรที่รับผิดชอบไม่พอเพียง

แนวทางเสริม
1. ควรมีการส่งเสริมการเผยแพร่ด้านศิลปวัฒนธรรม เช่น เวทีการแสดง และจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
2. ควรมีการส่งเสริมการเผยแพร่ด้านศิลปวัฒนธรรม เช่น เวทีการแสดง และจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

จุดอ่อน
         -
        
แนวทางแก้ไข
         -

 

สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
340 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000
โทร 044-253097, 044-242158 ต่อ 1216 โทรสาร 044-244739