top
 
 
       
งานประกันคุณภาพ  
ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ  
 
ประวัติความเป็นมา  
 
 
 
คณะกรรมการบริหาร  
บุคลากรประจำสำนักงาน  
 
รายงานประเมินตนเองปี 2554  
 
รายงานประเมินตนเองปี 2555  
 
รายงานประเมินตนเองปี 2556  
 
CHE QA Online 2555  
 
CHE QA Online 2556  
 
การจัดการความรู้ ปี 2555  
 
การจัดการความรู้ ปี 2556  
 
เว็บไซต์สำนักศิลปะและวัฒนธรรม  
       

 

 

 

 

 

 



งานประกันการศึกษาสำนักศิลปะและวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมาปีการศึกษา

ประจำปี 2555

องค์ประกอบที่  9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ


ตัวบ่งชี้ที่  9.1  ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (สกอ. 9.1)

ผู้กำกับดูแลตัวบ่งชี้ : นางวิลาวัลย์   วัชระเกียรติศักดิ์

โทรศัพท์ :  0897227734

ผู้จัดเก็บข้อมูล :  ดร. ไสว  กันนุลา

โทรศัพท์ :  0815487594

เกณฑ์การประเมิน


คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

มีการดำเนินการ
1 ข้อ

มีการดำเนินการ
2 หรือ 3 ข้อ

มีการดำเนินการ 4      หรือ 5 หรือ 6 ข้อ

มีการดำเนินการ
7 หรือ 8 ข้อ

มีการดำเนินการ      9 ข้อ

ผลการประเมินตนเอง


เป้าหมายการดำเนินงาน

ผลการดำเนินงาน

คะแนนการประเมิน

ผลการประเมินตนเองเทียบกับ            ค่าเป้าหมาย

8

8

5

บรรลุ

รายละเอียดผลการดำเนินงาน

ข้อ

เกณฑ์มาตรฐาน

ผลการดำเนินงาน

หลักฐาน

1

มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจและพัฒนาการของสถาบัน ตั้งแต่ระดับภาควิชาหรือหน่วยงานเทียบเท่า และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

   มหาวิทยาลัยมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษามีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการและประกันคุณภาพการศึกษารวมถึงมีการแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (สวธ. 9.1-1) โดยสำนักศิลปะและวัฒนธรรมมีการวางระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาอย่างสอดคล้องกับนโยบายด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของสำนักศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อดำเนินการตามระบบที่กำหนด (สวธ. 9.1-2)

สวธ. 9.1-1
สวธ. 9.1-2

 

รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2554
คำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ที่ 3923/2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม

2

มีการกำหนดนโยบายและให้ความสำคัญเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โดยคณะกรรมการระดับนโยบายและผู้บริหารสูงสุดของสถาบัน

   มีการประชุมคณะกรรมการประจำสำนักเพื่อชี้แจงแนวปฏิบัติ และกำหนดนโยบายด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในให้สอดคล้องกับนโยบายการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย (สวธ. 9.1-3)

สวธ. 9.1-3

 

รายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ 1/2555 วันที่ 5 กุมภาพันธ์  2556

3

มีการกำหนดตัวบ่งชี้เพิ่มเติมตามอัตลักษณ์ของสถาบัน

 

 

 

4

มีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในที่ครบถ้วน ประกอบด้วย
1) การควบคุม ติดตามการดำเนินงาน และประเมินคุณภาพ
2) การจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพเสนอต่อสภาสถาบันและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาตามกำหนดเวลา โดยเป็นรายงานที่มีข้อมูลครบถ้วนตามที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากำหนดใน CHE QA Online และ 3) การนำผลการประเมินคุณภาพไปทำแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถาบัน    

    สำนักฯ ได้นำระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาใช้ในการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา ดังนี้
1) มีการประชุมการควบคุมติดตามการดำเนินด้านงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน (สวธ. 9.1-3)
2) มีการจัดทำรายงานประเมินคุณภาพเสนอต่อมหาวิทยาลัยและ มีข้อมูลครบถ้วนตามที่กำหนดใน CHE QA Online (สวธ. 9.1-4)
3) มีการผลการประเมินคุณภาพไปทำแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Improvement plan) ปีการศึกษา 2555 (สวธ. 9.1-5)

 

สวธ. 9.1-3

 

สวธ. 9.1-4

สวธ. 9.1-5

 

 

รายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ 1/2555 วันที่ วันที่ 5 กุมภาพันธ์  2556
รายงานการประเมินตนเอง สำนักศิลปะและวัฒนธรรม ประจำปีการศึกษา 2555
แผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Improvement plan) ปีการศึกษา 2555

5

มีการนำผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาปรับปรุงการทำงาน และส่งผลให้มีการพัฒนาผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ของแผนกลยุทธ์ทุกตัวบ่งชี้

มีการนำผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาวิเคราะห์แนวทางแก้ไขปัญหาและปรับปรุงการทำงาน เพื่อจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้มีการพัฒนาผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ต่าง ๆ  (สวธ. 9.1-5)

สวธ. 9.1-5

 

ผลการประเมินแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา (Improvement plan) ปีการศึกษา 2555

6

มีระบบสารสนเทศที่ให้ข้อมูลสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในครบทั้ง 9 องค์ประกอบคุณภาพ

 

ได้จัดทำฐานข้อมูลที่เป็นระบบสารสนเทศที่ทันสมัยเป็นปัจจุบัน เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารในด้านการสนับสนุนการสอน การวิจัย การเงิน การบริหารจัดการและเป็นมูลในการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา (สวธ. 9.1-6)

สวธ. 9.1-6

ระบบ ระบบสารสนเทศ ของสำนัก ที่เกี่ยวข้องกับการประกันคุณภาพ

7

มีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะนักศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต และผู้ใช้บริการตามพันธกิจของสถาบัน

ได้จัดประชุมบุคลากรเพื่อชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ที่สำนักฯ ต้องรับผิดชอบ โดยเชิญผู้มีส่วนได้เสีย นักศึกษา มาร่วมประชุม และร่วมกันวิเคราะห์เกณฑ์การประเมินแต่ละตัวบ่งชี้และมอบหมายภารกิจหน้าที่เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปตามเกณฑ์การประกันคุณภาพ (สวธ. 9.1-3, สวธ. 9.1-7)

สวธ. 9.1-3

 

สวธ. 9.1-7

รายงานการประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ 1/2555 วันที่ 5 กุมภาพันธ์  2556
รายงานผลการวิเคราะห์องค์ประกอบด้านการประกันคุณภาพการศึกษาสำนักศิลปะและวัฒนธรรม

8

มีเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาระหว่างสถาบัน และมีกิจกรรมร่วมกัน

    สำนักฯ ได้ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานด้านประกันคุณภาพการศึกษากับสถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2555 เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพปัญหาและแนวทางในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพและเพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือภายนอกมหาวิทยาลัย (สวธ. 9.1-8)

สวธ. 9.1-8

 

รายชื่อการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานด้านประกันคุณภาพการศึกษากับสถาบันวิจัยและส่งเสริมศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2555

9

มีแนวปฏิบัติที่ดีหรืองานวิจัยด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่หน่วยงานพัฒนาขึ้น และเผยแพร่ให้หน่วยงานอื่นสามารถนำไปใช้ประโยชน์

    สำนักฯ  มีแนวปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานประกันคุณภาพ จึงทำให้มีผลการประเมินอยู่ในระดับดี ซึ่งคณะกรรมการสำนักศิลปะและวัฒนธรรมได้มีการประชุมเพื่อพิจารณาการดาเนินงานที่เป็นแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา ดังนี้
1. สนับสนุนให้บุคลากรของสานักฯ  เข้าอบรมผู้ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในของ สกอ. (สวธ. 9.1-19)
2. สร้างเครือข่ายด้านประกันคุณภาพการศึกษากับหน่วยงานภายนอก (สวธ. 9.1-10)
3. มีปฏิทินปฏิบัติงานเพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินที่ชัดเจน  (สวธ. 9.1-11)
4. สนับสนุนให้บุคลากรมีมีส่วนร่วมด้านประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ  (สวธ. 9.1-2)

 

สวธ. 9.1-9

สวธ. 9.1-10

 

สวธ. 9.1-11

 

สวธ. 9.1-2

 

บันทึกข้อความเชิญเข้าร่วมอบรม/คำสั่งให้บุคลากรเข้าอบรมผู้ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
หนังสือลงนามความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ระหว่างสำนักศิลปะและวัฒนธรรม  มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา กับสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ปฏิทินการปฏิบัติงานประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประจำปีการศึกษา 2555
คำสั่งมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ที่ 3923/2555 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของสำนักศิลปะและวัฒนธรรม

 

รายละเอียดผลการดำเนินงาน

จุดแข็ง
               สำนักฯมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาที่ชัดเจนมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้งานด้านประกันคุณภาพการศึกษาเป็นหน้าที่ในการปฏิบัติงาน

แนวทางเสริม
ควรส่งเสริมให้บุคลากรระดับปฏิบัติเข้ารับการฝึกอบรมเป็นผู้ตรวจประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างความตระหนักในการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา

จุดอ่อน
สำนักฯ ยังมีความร่วมมือในการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่จำกัด

แนวทางแก้ไข
ควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับหน่วยงานภายนอกให้มากขึ้นเพื่อสร้างมาตรฐานด้านการ ประกันคุณภาพ

 

สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
340 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.นครราชสีมา 30000
โทร 044-253097, 044-242158 ต่อ 1216 โทรสาร 044-244739